Translate

ประวัติศาสตร์ที่ขาดหาย

ประวัติศาสตร์ที่ขาดหาย

ทำไมยะไข่-พม่าจึงเกลียดชังมุสลิมมาก ให้เราไปดูประวัติศาตร์ในอินเดียที่ชาวอิสลามฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุชาวพุทธอย่างโหดเหี้ยม ในดินแดนพุทธเจ้าในอินเดียจนที่สุด ศตวรรษที่17 กองทัพมุสลิมก็ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวพุทธในอินเดียอย่างโหดเหี้ยมจนสูญสิ้นหมด และรื้อทำลายพุทธสถาน เช่นเจดีย์เอาไปทำสะพาน-และบรรไดลงท่าน้ำหลายแห่งในประเทศ  คนไทยไม่เคยเอาประวัติศาสตร์เรื่องนี้มาเรียนรู้ cr.Rush b-kvintage 


ประวัติศาสตร์หมุนกลับไปจุดเดิมเสมอ คนกลุ่มน้อยอพยพหนีภัยสงครามมายังดินแดนใหม่ เพื่อการมีชีวิต ซึ่งหนึ่งแหล่งอพยพหนึ่งในขณะนี้ ก็คือ เขตแดนของประเทศไทย ที่มีเจ้าของคือคนสัญชาติไทยถือครองอยู่ การผสมพันธุ์ จึงเกิดขึ้น สืบลูกสืบหลานต่อไป กลายเป็นลูกครึ่งสัญชาติไทย บนดินแดนในขณะนี้เรียกว่าประเทศไทย ผมได้ฟังอาจารย์สุจิตต์ วงษ์เทศ แล้วสะท้อนอย่างหนึ่งว่า สัญชาติไทยเกิดจากลูกผสม จีน ขอม มอญ ลาว พม่า ญวน แขก ฝรั่ง แล้วผู้ปกครองมารวบรวม เรียกขึ้นใหม่ ว่า สยาม และกลายเป็นประเทศไทยในที่สุดอันนั้นเรื่องหนึ่ง
แต่มีคำถามเรื่อง มุมมองการรับผู้อพยพคราวนี้ จะสร้างสงครามชายแดนขึ้นต่อไปในอนคตหรือไม่? เพราะจากประวัติศาสตร์สาเหตุที่อยุธยา รบกับพม่า ก็เพราะการรับผู้อพยพซึ่งเปนศัตรูของผู้ปกครองพม่าในสมัยนั้นนั่นแหละ จึงเป็นชนวนสงครามต่อเนื่องมาของกษัตริย์อยุธยา


ยุคมืด (Dark age) หมายถึงช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ระหว่างพุ­ทธศตวรรษที่ 18-19 ไม่เกี่ยวกับการเมืองในปัจจุบันโปรดอย่าเข­้าใจผิด 
- บายน (Bayon) เป็นชื่อยุคสมัยทางศิลปะได้จากปราสาทหลังห­นึ่งที่สร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งกัมพูชา ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1724-1762/3 สมัยหลังจากนั้นเรียกว่า "หลังบายน"

เริ่มต้นด้วยการกล่าวถึงที่มาของการจัดงาน­เสวนา “ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย: หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท” 
โดย อ.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

9.15-10.00 น. 
บรรยายเรื่อง “ท่ามกลางยุคมืด ยุคสมัยก่อนพระเจ้าอู่ทอง” (ชื่อยังไม่แน่นอน)
โดย คุณสุจิตต์ วงษ์เทศ 

10.15-11.45 น. 
บรรยายเรื่อง "ไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยา: การสัมผัสภาษาหลากเผ่าพันธุ์" 
โดย รศ.สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ 
คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร
ดำเนินรายการโดย ผศ.พรทิพย์ เฉิดฉินนภา

11.15-12.15 น. 
บรรยายเรื่อง "เติมเต็มช่องว่างของประวัติศาสตร์ไท­ย: หลักฐานจากยุคมืด"
โดย อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น